วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558

  สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
วัตถุทั้งหลายที่อยู่นิ่งในกรอบอ้างอิงเฉื่อย เช่น โคมไฟ บันไดที่พิงกำแพงอยู่ คาน ขื่อ และส่วนต่างๆ ของอาคาร ล้วนนับว่าวัตถุอยู่ใน สภาพสมดุลสถิต (static equilibrium)  ทั้งนี้หากประมาณว่าผู้สังเกตที่อยู่ที่ใดที่หนึ่งบนผิวโลกอยู่ในกรอบอ้างอิงเฉื่อย  (ความจริงไม่เป็นกรอบอ้างอิงเฉื่อย เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเองและเคลื่อนที่ไปรอบดวงอาทิตย์)  และวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว หรือหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัว อาจกล่าวได้ว่า วัตถุเหล่านี้อยู่ใน  สภาพสมดุล หรือ สมดุล  (equilibrium)    "อ่านต่อ"
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 1 ของนิวตัน (Newton’s first law of motion) หรือกฎของความเฉื่อย กล่าวว่า“วัตถุจะรักษาสภาวะอยู่นิ่งหรือสภาวะเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวเส้นตรง นอกจากมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ”คือ ถ้าวัตถุอยู่นิ่งก็ยังคงอยู่นิ่งเหมือนเดิม และถ้าวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ความเร็วคงที่ หรือความเร่งจะเป็นศูนย์ ซึ่งกรณีแรกจะเรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลสถิต (static equilibrium) และอีกกรณีหลังจะเรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาวะสมดุลจลน์ (kinetic equilibrium) มีสมการเป็นดังนี้ ∑F=0 Fคือ แรงลัพธ์ทั้งมดที่กระทำกับวัตถุ "อ่านต่อ"
 การเคลื่อนที่แนวตรง
ระยะทางคือความยาวตามแนวเสนทาง จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนื่ง เปนขนาดของเสนทางที่วัตถุ เคลื่อนที่ไดทั้งหมด เปนปริมาณสเกลลาร มีหนวย SI เปน เมตร การกระจัด คือปริมาณที่ใชบอกตําแหนงใหมที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได วามีระยะหางเปนแนวเสนตรงจาก ตําแหนงเดิมเทาใด วัดจากจุดเรื่มตน ไปยังจุดสุดทาย เปนปริมาณเวกเตอร มีหนวยเปน เมตร "อ่านต่อ"
บทนำ
เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์หรือฟิสิกส์
    เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์มีความจาเป็นดังนี้
    1. เครื่องมือวัดช่วยทาให้เราสามารถวัดปริมาณต่าง ๆ ที่ต้องการได้สะดวกรวดเร็วและปลอดภัย
    2. เครื่องมือวัดทาให้เราสามารถวัดปริมาณต่าง ๆที่ประสาทการรับรู้ของมนุษย์ไม่สามารถตรวจ สอบได้โดยตรง
    3. งานต่าง ๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์หรือฟิสิกส์จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยเครื่องมือเข้าช่วย